Abstract

Abstract Participatory genres of music have been recognized as spaces in which ethnic group identity is not just imaginable but also felt, seen, heard, and embodied. Engaged participation indeed builds solidarity and social synchrony, but beyond the ring of interacting participants can sometimes be found objectors who, in spite of the accessibility of the music, feel, mandate, or choose exclusion. This article tracks artist Chi Suwichan Phattanaphraiwan’s use of Karen (Pgaz K’Nyau) funeral music in Thailand to show the cultural complexity of an ethnic group emergent both in musical participation and in the refusal to engage. Ethnic identity is asserted in participation, as well as by “tuning out” บทคัดย่อ. เป็นที่ยอมรับกันว่า ดนตรีประเภทมีส่วนร่วมถือเป็น พื้นที่ ที่ไม่เพียงทำให้นึกภาพเอกลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ภายในนั้นได้เท่านั้น แต่ยังทำให้ รู้สึก เห็น ได้ยิน และแฝงจิตวิญญาณได้อีกด้วย การมีส่วนร่วมอย่างผูกพันกันนั้น แน่นอนว่าจะสร้างความสามัคคีและความพร้อมเพรียงทางสังคมขึ้น แต่นอกเหนือจากวงผู้มีส่วนร่วมปฏิสัมพันธ์กันแล้ว บางครั้งก็ยังสามารถพบเห็นผู้รังเกียจที่แม้จะมีโอกาสเข้าถึงดนตรี แต่กลับ รู้สึก สั่ง หรือเลือกการตีตัวออกห่าง บทความนี้ติดตามการใช้ดนตรีงานศพของชาวปกาเกอะญอในประเทศไทยของศิลปิน ชิ สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์ ในการแสดงความซับซ้อนทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ ทั้งในการมีส่วนร่วมทางดนตรีและในการปฏิเสธที่จะเข้าร่วม เอกลักษณ์ทางชาติพันธุ์ถูกแสดงออกในการมีส่วนร่วมและโดยการ เมินเฉย

Full Text
Published version (Free)

Talk to us

Join us for a 30 min session where you can share your feedback and ask us any queries you have

Schedule a call